บูรณะศาลาการเปรียญวัดศาลาครืน
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญทุกท่าน ร่วมทำบุญบริจาคทรัพย์ตามกำลัง ศรัทธา เพื่อบูรณะศาลาการเปรียญวัดศาลาครืนที่ทรุดโทรมมาก
วันสำคัญทางวัฒนธรรมและวันหยุดราชการ ๒๕๕๐
เผลอแป๊บเดียวก็จะออกพรรษากันอีกแล้ว อีกไม่นานเราก็จะได้ฉลองปีใหม่กันอีกครั้ง แต่เรามาดูกันซิว่า ปีหน้าฟ้าใหม่ ปีแห่งการสร้างบารมีที่เข้มข้นขึ้นไปนี้จะมีวันสำคัญๆ และวันหยุดราชการอะไรกันบ้างหนอ แต่ไม่ว่าจะมีวันหยุดมาก หรือจะมีวันหยุดน้อย นักสร้างบารมี ก็จะตะลุยกันสร้างบารมีไปทุกวัน ไม่มีเว้นวรรค ไม่มีเว้นวรรคกันอยู่แล้วใช่ไหมเอ่ย
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
วัดสุวรรณาราม
วัดสุวรรณาราม ตั้งอยู่ริมคลองบางกอกน้อยฝั่งธนบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เดิมชื่อว่าวัดทอง ในสมัยรัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าให้รื้อแล้วสถาปนาขึ้นใหม่แล้วใช้ชื่ิอว่า"วัดสุวรรณาราม"
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร
ประวัติ วัดโมลีโลกยาราม ผู้สร้างและผู้ปฏิสังขรณ์ ประวัติ วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร รวบรวมเรียบเรียงโดย พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน์ ป.ธ.๙)
วัดคงคารามดอนหวาย
วัดดอนหวายหรือวัดคงคารามดอนหวายตั้งอยู่ริมแม่น้ำนครไชยศรีโดยเฉพาะตลาดน้ำดอนหวายซึ่งเป็นแหล่งอาหารการกินและซื้อหาพืช ผัก ผลไม้ จากไร่สวนของชาวบ้านสองฟากฝั่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์
แผ่นดินที่ ๓ ของกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีถือเป็นยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยของพระองค์พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอันมาก เนื่องด้วยทรงมีพระราชศรัทธาอย่างมั่นคงในพระพุทธศาสนาทรงรักษาศีล บำเพ็ญทาน บำรุงคณะสงฆ์ สร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามไว้เป็นจำนวนมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน